การวางแผน ยื่นภาษี หรือการเตรียมการเพื่อเสียภาษี หรือที่รู้เรียกกันว่า ยื่นภาษี มือใหม่ ให้ถูกต้องและครบถ้วน รวมถึงใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีต่าง ๆ ที่กฎหมายกำหนดไว้ สำหรับมือใหม่ โดยเฉพาะมนุษย์เงินเดือนจบใหม่ ที่ต้องการวางแผนภาษีที่ดี ควรเริ่มต้นจากการทำความเข้าใจในรายละเอียดเกี่ยวกับภาษีเงินได้ และรู้จักใช้ประโยชน์จากสิทธิประโยชน์ทางภาษีให้คุ้มค่า สำหรับผู้ที่เพิ่งจะเริ่มต้นของการใช้ชีวิตการทำงาน และแน่นอนว่ายังไม่เคยมีประสบการณ์การยื่นแบบเพื่อจ่ายภาษีมาก่อน อาจจะไม่เข้าใจถึงลักษณะ และสิทธิประโยชน์จากการลดหย่อน
- การยื่นภาษี ยื่นเอกสารเพิ่มเติม คือ การที่บุคคลที่มีรายได้มากกว่า 10,000 บาทต่อเดือน ต้องยื่นแบบแสดงรายการเงินได้ปีละ 1 ครั้ง
- การเสียภาษี คือ ขั้นตอนหลังจากผู้ยื่นภาษีเรียบร้อยแล้ว จะเสียภาษีก็ต่อเมื่อ มีเงินได้หรือมีรายได้ถึงเกณฑ์ที่ต้องเสียภาษีเท่านั้น
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
- แบบ ภ.ง.ด. 90 คือ ผู้ที่มีรายได้นอกเหนือจากเงินเดือนที่ได้รับ เช่น ค้าขายแบบบุคคลธรรมดา เงินปันผล หรืออื่น ๆ
- แบบ ภ.ง.ด. 91 คือ ผู้ที่มีรายได้เป็นเงินเดือนโดยไม่มีรายได้เสริมจากแหล่งงาน หรือรายได้อื่น เช่น พนักงานบริษัทที่รับเงินค่าจ้างเพียงอย่างเดียว จะต้องยื่นแบบ ภ.ง.ด. 91
ยื่นภาษีที่ไหนได้บ้าง
- สำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขาทุกแห่ง ยื่นภาษี พิจารณากี่วัน
- ไปรษณีย์ แบบลงทะเบียน เฉพาะผู้มีเงินได้ที่มีภูมิลำเนาอยู่ในกรุงเทพมหานคร
- ช่องทางออนไลน์ สามารถยื่นผ่านเว็บไซต์ของกรมสรรพากร
เอกสารที่ต้องเตรียมก่อนการยื่นภาษี
- หนังสือรับรองเงินเดือน (50 ทวิ) จากนายจ้าง ยื่นภาษียื่นร่วม เป็นเอกสารที่ระบุว่าปีนั้นมีรายได้รวมเท่าไหร่ มีการหักชำระกองทุน หรือเงินทุนสำรองต่าง ๆ
- รายการลดหย่อนภาษีที่รวบรวมไว้ตลอดทั้งปี ได้แก่ ค่าเลี้ยงดูบิดา มารดา, บุตร หรืออุปการะคนพิการ
- เอกสารประกอบการลดหย่อยภาษีที่ เพื่อนำมาใช้ในการกรอกแบบฟอร์มยื่น ภาษี เช่น จำนวนเงินที่ซื้อกองทุน LTF/RMF เบี้ยประกันชีวิต ค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้า หรือบริการ
ไม่ยื่นภาษีมีความผิด
- การไม่ยื่น ภาษี หรือ เลี่ยงภาษีล้วนมีความผิด แต่บทลงโทษจะแตกต่างกันออกไปในแต่ละกรณี
- กรณีที่ไม่จ่ายภาษีในเวลาที่กำหนด จะต้องเสียเงินเพิ่มอีก 1.5% ต่อเดือนจนถึงวันที่เสียภาษี
- กรณีที่ตรวจสอบพบว่าไม่ได้ยื่นภาษี หรือยื่นแสดงรายการไว้ แต่จ่ายภาษีขาดไป ต้องรับผิดชอบเงินส่วนที่หายไป และเสียเบี้ยปรับอีก 1 เท่า หรือ 2 เท่าของภาษีที่ต้องชำระ แล้วแต่กรณี
- กรณีไม่ยื่นแบบแสดงรายการ ภ.ง.ด.90, 91 หรือ 94 ภายในกำหนดเวลา ต้องระวางโทษปรับทางอาญาไม่เกิน 2,000 บาท
- ถ้าจงใจให้ข้อความเท็จ ยื่นภาษีพันทิป แสดงหลักฐานเท็จ หรือฉ้อโกง เพื่อเลี่ยงภาษี มีโทษจำคุก ตั้งแต่ 3 เดือนถึง 7 ปีและปรับตั้งแต่ 2,000 – 200,000 บาท
- ถ้าเจตนาไม่ยื่นแบบแสดงรายการเพื่อเลี่ยงภาษี มีโทษปรับไม่เกิน 200,000 บาท หรือจำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือทั้งปรับทั้งจำ
ยื่นภาษีใหม่ ระหว่างช่วงยื่นปกติ
- กรณียังไม่ได้จ่ายค่าภาษี
- ถ้ายื่นภาษีผ่านช่องทางอิล็กทรอนิกส์ เช่น ยื่นภาษีผ่านเว็บไซต์ หรือแอพพลิเคชั่น สามารถเลือก ยกเลิกการยื่นแบบ เพื่อล้างข้อมูลที่เคยยื่นไว้แล้วกรอกข้อมูลใหม่ที่ถูกต้องตั้งแต่แรกก็ได้
- ถ้ายืนกระดาษจะต้องใช้วิธียืนเพิ่มเติม โดยบนแบบฟอร์มต้องระบุด้วยว่า “ยื่นเพิ่มเต็ม” เพื่อป้องกันความสับสนกับ การยื่นปกติ
- กรณีจ่ายค่าภาษีไปแล้วหรือได้เงินคืนภาษีมาแล้ว
- กรณียื่นภาษีผ่านช่องทางอิเล็กทรอนิกส์ เช่น ยื่นภาษีผ่านเว็บไซต์ หรือแอพพลิเคชั่น สามารถเลือก ยื่นแบบเพิ่มเติม
- โดยจะต้องกรอกข้อมูลการยื่นภาษีใหม่ทั้งหมดอีกครั้ง และแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้องเช่นกัน แต่ส่วนที่เพิ่มเติมขึ้นมา
- ต้องระบุเพิ่มเติไปว่าที่ยื่นภาษีไปครั้งก่อนชำระภาษีไปแล้วกี่บาท
- ได้เงินคืนภาษีไปแล้วกี่บาท เพื่อจะได้ค่านวณใหม่ว่าครั้งนี้ต้องจ่ายภาษีเพิ่ม หรือได้เงินคืนภาษีเพิ่มอีกกี่บาท หลังจากยื่นเพิ่มเติมแล้ว
- กรณียื่นกระดาษจะต้องระบุบนแบบฟอร์มด้วยว่า ยื่นเพิ่มเติม เพื่อป้องกันความสับสนกับการ ยื่นปกติ
ยื่นใหม่ หลังจากพันช่วงเวลายื่นภาษีปกติไปแล้ว
- ถ้าพันช่วงเวลายืนภาษีไปแล้ว การยื่นภาษีใหม่จะต้องยืนเพิ่มเติม แบบกระดาษเท่านั้น
- โดยการยืนเพิ่มเติมจะต้องระบุ ด้วยว่า ยื่นเพิ่มเดิม เพื่อป้องกันความสับสนกับการ ยื่นปกติ
- การยื่นเพิ่มเติม สามารถยื่นอีกกี่ครั้งก็ได้ภายใน 3 ปี นับจากวันสุดท้ายที่ครบกำหนดยื่นภาษี
มีรายได้ แต่ไม่ ยื่นภาษี
- แม้ว่ากฎหมายจะบังคับให้ยื่นภาษีเมื่อมีรายได้ แต่ถ้าเป็นกรณีต่อไปนี้ สามารถเลือกที่จะไม่ยื่นภาษีก็ได้
- มีรายได้จากเงินเดือนเพียงทางเดียว ตลอดทั้งปีไม่เกิน 120,000 บาท หรือตกเดือนละ 10,000 บาท
- รายได้ทางอื่นด้วยตลอดทั้งปีไม่เกิน 60,000 บาท หรือเดือนละ 5,000 บาท
- สมรสตามกฎหมายแล้วและคุณทั้งคู่มีรายได้จากเงินเดือนเพียงทางเดียวรวมกันตลอดทั้งปีไม่เกิน 220,000 บาท หรือตกเดือนละ 18,333.33 บาท
- สมรสตามกฎหมายแล้วและคุณทั้งคู่มีรายได้รวมกันตลอดทั้งปีไม่เกิน B120,000 หรือตกเดือนละ 10,000 บาท
- รายได้จากดอกเบี้ยธนาคาร, ดอกเบี้ยหุ้นกู้, ดอกเบี้ยพันธบัตร, ส่วนต่าง discount bond, กำไรจากการขาย ตราสารหนี้, เงินปันผลของบริษัทห้างร้าน แล้วปล่อยให้ภาษีที่ถูกหัก ณ ที่จ่ายเป็นภาษีสุดท้ายไปเลย
- เงินรายได้จาก เงินปันผลจากกองทุนรวม แล้วปล่อยให้ภาษีที่ถูกหัก ณ ที่จ่ายเป็นภาษีสุดท้ายไปเลย
- รายได้จาก กรขายอสังหริมทรัย์ที่ป็นมรดกหรือมีคนให้มา แล้วปล่อยให้ภาษีที่ถูกหัก ณ ที่จ่ายเป็นภาษี
- รายได้จาก การขายอสังหริมทรัพย์ที่ได้มาโดยทางอื่นที่ไม่ได้มุ่งหากำไร แล้วปล่อยให้ภาษีที่ถูกหัก ณ ที่จ่ายเป็นภาษีสุดท้าย